Pages

Tuesday, June 30, 2020

“มารินาเท็กซ์” ไบโอพลาสติกจากเกล็ดปลา - ฐานเศรษฐกิจ

ikanberenangkali.blogspot.com

ปลายปีที่ผ่านมา ลูซี่ ฮิวจ์ส นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์ คว้ารางวัลสุดยอดนวัตกรรม “เจมส์ ไดสัน อวอร์ด” (James Dyson Award) ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสำหรับนักประดิษฐ์จากประเทศอังกฤษ ด้วยผลงานการคิดค้นของเธอ ซึ่งวิจัยและพัฒนา ไบโอพลาสติก หรือ พลาสติกชีวภาพ ที่ผลิตมาจากเกล็ดและเนื้อปลา แผ่นฟิล์มพลาสติกที่ได้สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานอย่างหลากหลาย ทั้งทำเป็นบรรจุภัณฑ์ห่อแซนด์วิช ทำกล่องใส่กระดาษทิชชู หรือแม้แต่ทำเป็นถุงพลาสติกใส่อาหารและสิ่งของ

ลูซี่ตั้งชื่อผลิตภัณฑ์ของเธอว่า มารินาเท็กซ์ (MarinaTex) ด้วยความที่มันเป็นผลิตผลจากท้องทะเล ทั้งเกล็ดปลาและเศษเนื้อปลานั้นเป็นของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมประมง แต่ลูซี่คิดว่ามันยังเป็นสิ่งที่นำมาทำประโยชน์ได้ ผลงานชิ้นนี้เป็นงานวิทยานิพนธ์จบการศึกษาของเธอ

แผ่นฟิล์มพลาสติก “มารินาเท็กซ์” ที่ได้นั้น นอกจากใสแล้วยังมีความยืดหยุ่น จึงสามารถนำมาใช้ผลิตสิ่งของหลายอย่างเพื่อใช้แทนพลาสติกทั่วไป เช่น ทำบรรจุภัณฑ์ใส่อาหาร ถุง และแผ่นฟิล์มห่ออาหาร เป็นต้น คุณสมบัติที่โดดเด่นและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็คือ นอกจากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวนี้จะทำมาจากเกล็ดและเศษเนื้อปลาที่เป็นของเหลือทิ้งแล้ว มันยังสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ โดยใช้เวลาในการย่อยสลายภายใน 4-6 สัปดาห์เท่านั้น

ลูซี่ให้เหตุผลว่า เธอไม่อยากนำวัสดุใหม่เอี่ยมมาใช้ในโปรเจ็คท์ของเธอ แต่เลือกที่จะใช้เศษของเหลือทิ้งมาเป็นวัสดุตั้งต้น เพราะคิดว่ามันเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า และเป็นการใช้ประโยชน์จากของเหลือ “สำหรับฉัน งานออกแบบที่ดีคือสิ่งที่สามารถเชื่อมโยงพฤติกรรมของผู้คน ธุรกิจ และโลกของเราเข้าด้วยกัน” นอกจากนี้ ผลงานของเธอยังประหยัดการใช้พลังงานและทรัพยากรในการผลิตด้วย

ข่าวที่เกี่ยวข้อง 

สถิติของทางการอังกฤษชี้ว่า ในแต่ละปีจะมีเศษของเหลือทิ้ง เช่นซากปลา จากอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมงเกือบๆ 5 แสนตัน/ปี ซึ่งสำหรับลูซี่นั่นหมายถึงถุงไบโอพลาสติกจำนวนมากมายมหาศาล เพราะเศษเกล็ดและเนื้อปลาค็อดตัวใหญ่ๆ 1 ตัวนั้น เพียงพอสำหรับการผลิตถุงมารินาเท็กซ์จำนวนถึง 1,400 ใบเลยทีเดียว นอกเหนือจากเกล็ดและเศษปลาแล้ว ลูซี่ยังใช้สาหร่ายที่หาได้ตามชายฝั่งมาสกัดเป็นสารที่จะใช้ในการเชื่อมประสานส่วนผสมไบโอพลาสติกของเธอให้มีความเหนียวและทนทาน

รางวัลที่เธอได้รับ เป็นเครื่องยืนยันว่า ผลิตภัณฑ์ที่เป็นทางเลือกใหม่เพื่อความยั่งยืนในแง่สิ่งแวดล้อมนั้น มาควบคู่กับคุณภาพที่ดีได้อย่างแน่นอน

ข้อมูลอ้างอิง 


Let's block ads! (Why?)


July 01, 2020 at 09:50AM
https://ift.tt/2NJxguD

“มารินาเท็กซ์” ไบโอพลาสติกจากเกล็ดปลา - ฐานเศรษฐกิจ
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

ฝนถล่มหนัก ทำ ปลาดุก หลุดจากบ่อลอยเกลื่อนถนน - ข่าวช่อง3 - CH3 Thailand NEWS

ikanberenangkali.blogspot.com

01 ก.ค. 2563
183 ครั้ง

ระยอง - นี่เป็นสภาพของถนนสายกระเฉด สังขฤกษ์ หมู่ 3 ตำบลกระเฉด อำเภอเมือง ซึ่งขณะนี้ได้กลายสภาพเป็นลำคลองไปแล้ว โดยระดับน้ำท่วมสูงกว่า 1 เมตร รถยนต์ไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้ แล้วแถมยังกลายเป็นแหล่งอาหารของชาวบ้านด้วย โดยชาวบ้านได้นำแหไปทอดบนถนน ปรากฏว่ามีปลาดุกตัวโต ๆ และปลายี่สก ติดมาจำนวนมาก ขณะนี้จึงมีชาวบ้านหลายคน นำแหไปเหวี่ยงกันถนน ซี่งก็สามารถจับปลาดุกขนาดใหญ่ได้จำนวนมาก นำไปปิ้งย่างรับประทานกัน 

 

 

ชาวบ้านบอกว่า หลังจากที่ฝนตกหนัก และเกิดน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลกะเฉด ก็สังเกตุเห็นปลาดุก และปลายี่สกจำนวนมาก บนถนน จึงนำแหไปเหวี่ยง ก็ได้ปลาตัวใหญ่ๆ มาหลายตัว เบื้องต้นคาดว่าน้ำที่ท่วมสูง ทำให้ปลาที่ชาวบ้านเลี้ยงไว้ในบ่อ ซึ่งมีทั้งปลาดุก และปลายี่สก หลุดออกมาจำนวนมากนั่นเอง

 

 

Let's block ads! (Why?)


July 01, 2020 at 08:41AM
https://ift.tt/3gkJLJD

ฝนถล่มหนัก ทำ ปลาดุก หลุดจากบ่อลอยเกลื่อนถนน - ข่าวช่อง3 - CH3 Thailand NEWS
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

Monday, June 29, 2020

像艘遊艇的鮪魚罐頭 - Cool3c 癮科技

ikanberenangkali.blogspot.com

這件打破罐頭千偏一律的包裝,是日本東洋製罐在2019的得獎作品,改造市面上為了大量生產而做成扁圓形的罐頭,再加上特別的塗裝,就變成了一艘彩繪遊艇。

不過這個罐頭你目前買不到,廠商也不打算量產(這種設計一定良率低成本高交貨時間長),還只是個概念而已。這裡看更多。

Let's block ads! (Why?)




June 30, 2020 at 01:07PM
https://ift.tt/31snvsP

像艘遊艇的鮪魚罐頭 - Cool3c 癮科技

https://ift.tt/2AAxDVG

โครงการทรัพยากรณ์ชีวภาพปลากัดแห่งชาติ พัฒนาและคุ้มครองสายพันธุ์ปลากัดไทย - ข่าวช่อง3 - CH3 Thailand NEWS

ikanberenangkali.blogspot.com

29 มิ.ย. 2563
145 ครั้ง

ปลากัดเป็นกลุ่มปลาสวยงามชนิดหนึ่งที่เป็นสัตว์น้ำส่งออกอันดับ 1 ของไทย ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงถึงหลักร้อยล้านบาทแต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือการเก็บตัวอย่างพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ที่เป็นไปได้ยาก เนื่องจากวงจรอายุที่สั้น ซึ่งต่อจากนี้สายพันธุ์ปลากัดต่างๆที่เกิดขึ้นโดยคนไทยจะได้รับการบันทึกเป็นฐานข้อมูลอย่างเป็นทางการ หลังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสำนักการวิจัยแห่งชาติ ได้ร่วมกับสมาคมปลากัดไทย จัดตั้งโครงการทรัพยากรชีวภาพปลากัดแห่งชาติขึ้น 

 

 

ปลากัดหลากสีสันทั้งพันธุ์ฮาฟมูน ปลากัดดับเบิลเทล ปลากัดหม้อ และปลากัดยักษ์ ทั้งหมดนี้ ผสมพันธุ์ขึ้นโดยฝีมือคนไทย ให้ได้สีสันแปลกตา ก่อนนำจำหน่ายและส่งออกสู่ท้องตลาด ซึ่งไม่กี่เดือนที่ผ่านมาได้รับการเก็บบันทึกข้อมูล ทั้งเซลล์ รหัสพันธุกรรม และอื่นๆ มาแช่แข็งไว้ ทำให้ผู้เพาะพันธุ์สามารถ เพาะเลี้ยงปลากัดที่มีลักษณะและสีคล้ายเดิมต่อไปได้ ผ่านโครงการทรัพยากรชีวภาพปลากัดแห่งชาติ ที่เป็นความร่วมมือของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักการวิจัยแห่งชาติ และสมาคมปลากัดไทย 

 

 

โดยวันนี้ได้มีการประชุมเพื่อปรึกษาหารือและวางแผนของโครงการต่อจากนี้ เพื่อพัฒนาแนวทางการวิจัย การอนุรักษ์ ก่อนนำข้อมูลที่ได้มาใช้ปรับปรุงพันธุ์ปลากัดเลี้ยงและปลากัดตามธรรมชาติ และทดลองโคลนนิ่งปลากัดเป็นครั้งแรก ซึ่งจะเป็นรากฐานในการคุ้มครองพันธุ์ปลากัดไทยที่เป็นสัตว์น้ำประจำชาติ และสร้างมูลค่าให้สัตว์น้ำเศรษฐกิจชนิดนี้ที่ปัจจุบันมีมูลค่าสูงถึงกว่า 130 ล้านบาท ได้ในอนาคต

 

 

รองศาตราจารย์ ดร. ครศร ศรีกุลนาถ ประธานโครงการระบุว่า จากการเพาะเลี้ยงในปัจจุบันทำให้ปลากัดสายพันธุ์ต่างๆ สูญเสียความเป็นพันธุ์ไป การวิจัยนี้จึงสามารถช่วยเก็บตัวอย่างเอกลักษณ์ของสายพันธุ์ปลากัดไทยไว้ได้อย่างยั่งยืน ซึ่งขณะนี้มีการจัดทำข้อมูลสายพันธุ์ปลาดกัดอมไข่กระบี่ ปลากัดป่าและสายพันธุ์อื่นทั่วประเทศแล้ว

 

 

เบื้องต้นงานวิจัยนี้จะใช้เวลาอย่างน้อย 3 ปีในการดำเนินการ และจะเริ่มโคลนนิ่งปลากัดตัวแรกให้ได้ในเร็วๆ นี้ เพื่อยกระดับชนิดและสายพันธุ์ปลากัดไทย ผ่านระบบฐานข้อมูล โดยทางโครงการก็ได้มีแผนการขึ้นทะเบียนพันธุ์ปลากัดที่มีสีใหม่ๆ จากกรพัฒนาได้ และผลักดันการจดสิทธิบัตรการเพาะพันธุ์ปลากัดไทยให้ได้ในอนาคต เพื่อคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของปลากัดไทย

Let's block ads! (Why?)


June 29, 2020 at 11:55PM
https://ift.tt/2Aevxul

โครงการทรัพยากรณ์ชีวภาพปลากัดแห่งชาติ พัฒนาและคุ้มครองสายพันธุ์ปลากัดไทย - ข่าวช่อง3 - CH3 Thailand NEWS
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

Les dauphins apprennent à piéger les poissons dans des coquillages - Yahoo Actualités

ikanberenangkali.blogspot.com
Voir les photos

Les grands dauphins de Shark Bay, en Australie occidentale, piègent des poissons à l'intérieur de grands coquillages vides. Un comportement culturel qui serait transmis entre individus n'ayant aucun lien de parenté. « Surprenant, avoue Sonja Wild, coautrice de l'étude parue dans Current BiologyLes dauphins et autres baleines à dents ont tendance à suivre une stratégie de "faire comme sa mère" pour apprendre le comportement de recherche de nourriture ».

Un dauphin en train de secouer un coquillage, jusqu'à ce que le poisson coincé dedans tombe dans sa bouche. © Sonja Wild, Dolphin Innovation Project

L'apprentissage social concerne de nombreuses espèces animales, mais les comportements culturels ne sont généralement transmis que dans un cadre parents-enfants. On parle de « transmission verticale ». Sauf chez les grands singes, qui peuvent apprendre d'autres individus de leur groupe. Il s'agit alors de « transmission horizontale » si les individus apprennent au sein d'une même génération, et de « transmission oblique » quand ce sont des individus plus âgés qui instruisent les plus jeunes. Or, cette étude apporte les premières preuves que des cétacés peuvent s'instruire via une transmission non verticale !

Le second cas d'utilisation d'outils chez les dauphins

Les chercheurs ont observé 19 dauphins en pleine stratégie de piégeage. Ils « chassent leurs proies, généralement un poisson, dans des coquilles vides de gastéropodes géants, insèrent leur bec dans la coquille, l'amènent à la surface de l'eau, puis le secouent pour vider l'eau de la coquille afin que le poisson tombe dans leur bouche ouverte », raconte Sonja Wild. L'événement ne prenant que quelques secondes, il est délicat à remarquer.

Une reconstruction du comportement de « piégeage » des poissons des dauphins. © Sonja Wild

Cette capacité d'apprentissage s'ajoute aux autres similitudes entre le comportement des cétacés et celui des grands singes. Bien qu'ils aient « des histoires évolutives divergentes » et...

> Lire la suite sur Futura

À lire aussi sur Futura




June 29, 2020 at 01:08PM
https://ift.tt/2AclK7Y

Les dauphins apprennent à piéger les poissons dans des coquillages - Yahoo Actualités

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

Saint-Cirq-Lapopie. La galerie d’art "Le Poisson rose" a ouvert - ladepeche.fr

ikanberenangkali.blogspot.com

Béatrice Vignals vient d’ouvrir une galerie d’art à Saint-Cirq-Lapopie, "Le Poisson rose", consacrée au peintre Roger Dérieux (1922-2015, peinture, paysages, natures mortes, nus, collages). Cette nouvelle galerie va tout naturellement trouver sa place entre la Maison Daura et la Maison André Breton.

"La Rose impossible et Le Poisson rose, voilà une rencontre digne des surréalistes et de l’art moderne où Roger Dérieux se situe auprès des plus grands." Béatrice, ses filles Amélie et Héloïse Vignals accueillent au Poisson rose, rue de la Fourdonne, depuis samedi 13 juin, et pour toute la saison. Un vernissage aura lieu le 17 juillet à 18 h.

"Roger Dérieux était le fils du poète et critique littéraire Henry Dérieux. Sa mère, pianiste, lui a permis de grandir dans un milieu où la musique était très importante. En 1938, il rencontre Francis Picabia et, trois ans plus tard, il se lance dans la peinture."




June 29, 2020 at 10:06AM
https://ift.tt/2CRhsE5

Saint-Cirq-Lapopie. La galerie d’art "Le Poisson rose" a ouvert - ladepeche.fr

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

Donner du poisson à manger à son chien : bonne ou mauvaise idée ? - Binette & Jardin - Le Monde

ikanberenangkali.blogspot.com

Le poisson est une source de bienfaits non négligeables pour l’homme, mais aussi pour le chien. Les espèces de poissons gras sont en effet riches en acides gras et nutriments essentiels, dont les fameux Oméga 3, bons pour la santé. Toutefois, est-il recommandé de nourrir son chien avec du poisson ? Que penser des croquettes à base de poisson ? Le poisson cru est-il bon pour le chien ? Quels sont les bienfaits réels du poisson sur la santé du toutou ? Nos réponses dans ce dossier.

Donner du poisson à manger à son chien : bonne ou mauvaise idée

Quels sont les bienfaits du poisson pour le chien ?

Comme chez l’homme, le poisson a des bienfaits reconnus sur la santé du chien. Les poissons gras sont riches en acides gras essentiels, notamment les Oméga 3, et en nutriments. Un chien nourri avec des apports réguliers et maîtrisés en poissons gras aura tendance à avoir un plus beau pelage et moins d’inflammations.

En matière de bienfaits du poisson, seuls les poissons gras sont à prendre en compte. Les autres poissons ne présentent pas d’intérêt majeur. Par poissons gras, nous entendons le saumon, le hareng, la sardine ou encore le maquereau. En voici les principaux bienfaits :

  • Les poissons gras sont une source de protéines animales intéressantes, car leur teneur est élevée, tout en étant bien moins gras que les viandes les moins grasses. Le risque de surpoids et d’obésité est donc réduit.
  • Les poissons gras sont plus faciles à digérer que la viande.
  • Ils ont des vertus anti-inflammatoires grâce à leur teneur en Oméga 3.
  • Les Oméga 3 et autres acides gras contribuent à entretenir la bonne santé du pelage du chien.
  • La viande est parfois une source d’allergie pour le chien ; le poisson gras peut alors parfaitement la remplacer.
  • Grâce à sa teneur en protides, il participe à la bonne croissance du chien.

Quelques risques à ne pas négliger

Si le poisson gras est excellent pour la santé du chien, il convient de rester vigilant, car il n’est pas sans risques.

  • Pensez à bien retirer toutes les arêtes avant de servir le poisson, car votre chien en est incapable et pourrait se blesser. Ne les négligez pas, une arête peut boucher l’œsophage de l’animal ou perforer un organe.
  • Les poissons gras sont bénéfiques, mais comme pour tout aliment, en quantité raisonnable dans une alimentation équilibrée, variée et saine. Le poisson ne doit pas être proposé en surdose ou en aliment unique.

Comment donner du poisson à son chien ?

Pour donner du poisson à votre chien, vous avez plusieurs moyens : les croquettes à base de poisson et le poisson sous sa forme naturelle.

Les croquettes à base de poisson

Les croquettes à base de poisson conviennent très bien à l’alimentation de votre animal. Toutefois, cette version préparée sera forcément moins bénéfique pour sa santé que la version fraîche, mais elle est une excellente alternative. Ces croquettes à base de poisson sont même recommandées pour permettre aux chiens qui ne digèrent pas bien la viande de profiter d’apports nutritifs équivalents.

Sachez qu’il est tout à fait possible de mélanger les croquettes à base de viande et de poisson.

Le poisson sous sa forme naturelle

Ne donnez jamais de poisson cru (ni de viande crue) à votre chien, car c’est un risque pour sa santé. La cuisson permet en effet d’éliminer bon nombre de bactéries qui se développent ensuite dans l’appareil digestif ; certaines sont toxiques, voire mortelles. Pour réduire encore le risque de parasites, congelez votre poisson ou viande après achat pendant une dizaine de jours et cuisez-les ensuite pour votre chien.

Si vous souhaitez donner du poisson à votre chien, faites-le cuire en le faisant bouillir, sans sel ni aucun ajout. Une ration par semaine est suffisante pour éviter une intoxication au mercure. Privilégiez les poissons gras comme le saumon d'élevage, la sardine et la morue.

Certains spécialistes estiment qu’une longue congélation à un maximum de -20°C permet d’éliminer suffisamment de bactéries pour donner du poisson cru au chien. Les nutritionnistes ne s’entendent pas tous sur la question. Quoi qu’il en soit, les apports nutritionnels ne sont pas supérieurs, alors privilégiez les poissons cuits, par sécurité.

Les poissons à éviter

Les poissons gras comme la sardine, le maquereau ou encore le saumon sont à privilégier pour leurs apports en nutriments essentiels. Vous pouvez également donner à votre chien d’autres espèces. En revanche, il est conseillé d’éviter tous les poissons carnivores et les poissons à grosse tête, car ceux-ci contiennent des métaux lourds, mauvais pour la santé. Évitez donc le saumon sauvage, la lotte, le thon, le requin, l’espadon ou encore l’anguille. Chez l’homme aussi, ils doivent être consommés en quantité raisonnable et ils sont fortement déconseillés aux femmes enceintes et allaitantes ; c’est dire s’ils présentent un risque pour votre petit compagnon !

Imprimer cette fiche   Flux RSS



June 29, 2020 at 02:51PM
https://ift.tt/2NFSN7I

Donner du poisson à manger à son chien : bonne ou mauvaise idée ? - Binette & Jardin - Le Monde

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

Sunday, June 28, 2020

수산물 HMR 전성시대… CJ·오뚜기 등 식품업계 경쟁 가열 - 브릿지경제

ikanberenangkali.blogspot.com
clip20200629113459
CJ 비비고 생선구이 제품 (사진=CJ제일제당)

최근 식품업계 가정간편식(HMR) 카테고리에서 가장 성장세가 가파른 분야로 ‘수산물 HMR’이 꼽힌다. 식품업계간 본격 경쟁 체제로 인해 제품 품질이 높아지고 있어서다.

29일 식품업계에 따르면 가정간편식(HMR) 시장은 2011년 8000억 원 규모에서 지난 2018년 3조 원 규모로 시장이 7년 새 약 4배까지 급속하게 성장했지만, 참치, 연어캔 등으로 대표되는 수산물 가공식품의 시장 규모는 1200억원대에서 정체 상태였다. 통조림을 중심으로 한 시장은 동원, 오뚜기 등으로 한정적이였고 새로운 제품도 나오지 않아서다.

하지만 CJ제일제당이 상온 수산물 제품을 대서 쏟아내며 상황이 바뀌었다. 특히 생선구이는 집 안에서 구우면 연기와 비린내가 심해 환기를 시켜도 한동안 빠지지 않는 단점이 있지만 이를 개선한 HMR 구이 제품이 나오며 시장이 성장세를 타고 있는 것이다. 특히 지난해 렌즈용 생선구이 등 국내 수산 HMR 시장 규모는 339억원으로 2016년(220억원) 대비 2년 만에 약 54% 급성장했다. 이에 CJ제일제당, 동원F&B, 오뚜기 등이 수산물 HMR 제품을 대거 내놓으며 점유율 경쟁을 벌이고 있다.

CJ제일제당는 상온 제품으로 승부를 보고 있다. CJ제일제당 ‘비비고 생선구이’는 지난해 8월 출시 이후 누적 매출 100억원을 돌파했다. 수산HMR 제품이 출시 1년도 되지 않아 월 평균 10억 이상 매출을 기록한 것은 업계에서 이례적인 일로 평가 받는다.

특히, 요리를 좋아하지만 손질, 연기, 냄새 등으로 생물 조리에 불편함과 어려움을 느꼈던 미취학 유자녀 가구와 1~2인 가구에서의 반응이 뜨겁다. CJ제일제당은 이들이 ‘비비고 생선구이’의 충성고객으로 자리잡으면서 매출 확대에 기여한 것으로 보고 있다. 실제 CJ제일제당 식품전문몰 ‘CJ더마켓’ 기준으로 ‘비비고 생선구이’ 재구매율은 70%에 육박한다. 차별화된 맛 품질과 편의성 덕분에 구매자 10명 중 7명은 생선구이를 일상적으로 즐기기 시작했다고 해석할 수 있는 대목이라고 CJ 관계자는 전했다. 

clip20200629113543
오뚜기 생선요리 제품 (사진=오뚜기)

오뚜기도 수산물 상온 가정간편식(HMR) 시장에 뛰어들었다. 오뚜기는 ‘간단한끼 생선조림 3종(매콤 꽁치조림, 포모도로 꽁치조림, 김치 고등어조림)’을 지난 11일 선보였다. 앞서 오뚜기는 지난해 ‘렌지에 돌려먹는 생선구이’ 냉동 제품을 출시한데 이어 연이어 신제품을 출시한 것이다.

대상 청정원도 지난 2월 ‘집으로ON 어린이 순살생선’ 2종을 선보였다. 이 제품은 레몬즙을 사용해 잡내를 제거하고 5단계 열처리가 가능한 오븐기를 사용해 단시간에 빠르게 구워냈다. 생선 고유의 맛과 영양은 물론 촉촉함을 살린 것이 특징이다.

동원F&B는 지난해부터 ‘수산 간편요리 KIT’ 3종(골뱅이비빔, 꼬막간장비빔, 꼬막매콤비빔)을 시장에 내놨다. 신제품을 통해 50년 수산 식품 노하우를 바탕으로 국내 수산물 HMR 시장을 주도한다는 전략이다.‘수산 간편요리 KIT’ 3종은 별도의 조리과정이 필요 없는 수산물 HMR 밀키트 제품이다. 손질된 골뱅이와 꼬막 등 수산물과 새송이버섯, 곤약면 등 부재료가 함께 들어있는 파우치에 특제 비빔양념 및 참기름이 동봉돼 있다. 신세계푸드도 같은 해 5월 고등어·가자미·꽁치·갈치·삼치구이 등으로 구성된 ‘올반 간편생선구이’를 선보였다.

식품업계 한 관계자는 “렌지용 생선구이 제품은 작년 월평균 대비 10% 정도의 성장을 보이고 있다”며 “올해는 수산물 HMR 제품의 성장세가 가속화될 것으로 예상된다”고 말했다.

김승권 기자 peace@viva100.com 

Let's block ads! (Why?)




June 29, 2020 at 11:45AM
https://ift.tt/3iawlBn

수산물 HMR 전성시대… CJ·오뚜기 등 식품업계 경쟁 가열 - 브릿지경제

https://ift.tt/3hm67M7

ปลากัดพลิกชีวิต จากติดลบ ส่งขาย 6 ประเทศ ปีเดียวปลดหนี้นอกระบบสองแสน - ไทยรัฐ

ikanberenangkali.blogspot.com

เธอเองไม่คาดคิดว่าปลากัดตัวเล็กๆ หลากสีสันสวยงาม จะสามารถเปลี่ยนชีวิตเธอและสามี นาย เอกชัย ปราบปราม จนประสบความสำเร็จดังหวังและลืมตาอ้าปากได้ นอกจากขายดีในไทยแล้ว ยังส่งออกไปยังประเทศ เกาหลี , ใต้หวัน ,จีน,ญี่ปุ่น ,ฟิลิปปินส์ ,สิงคโปร์ จนสามารถปลดหนี้สองแสนได้เพียงในหนึ่งปี

จุดเริ่มต้นที่หันมาขายปลากัดจนได้ดีเช่นทุกวันนี้ น.ส.ธัญญพัทธ์ เท้าความว่า พ่อกับแม่ทำงานก่อสร้าง มาตั้งแต่เธอเป็นเด็ก กระทั่งช่วงปิดเทอมจะขึ้น ม.5 บ้านเกิดวิกฤติหนัก ไม่มีเงินส่งเรียนต่อ แม่ต้องให้เธอเลือกระหว่างเลิกเรียนมาช่วยพ่อแม่ทำงานก่อสร้างหรือจะกลับไปเรียนต่อ

แม้รู้ว่าพ่อแม่ลำบาก แต่ด้วยใจใฝ่เรียน เธอร้องไห้ ขอร้องพ่อกับแม่อย่างไม่ลังเลและมุ่งมั่นว่าขอเรียนต่อ และจะตั้งใจเรียนให้จบ ม.6 พ่อได้ยินก็น้ำตาร่วง ยอมให้เรียนต่อและบอกว่าจะส่งเรียนจนจบให้ได้เมื่อพ่อแม่ให้โอกาส เธอก็ตั้งใจเรียนตามที่พูดไว้จนจบ ม.6 ได้ ถึงแม้ว่า ม.6 เทอมสุดท้ายจะได้ไป รร.แค่วันจันทร์วันเดียว ก็ตาม

 ชีวิตครอบครัวที่ต้องดิ้นรนมาทุกรูปแบบ กลายเป็นแรงผลักดันให้เมย์ตั้งใจมากเพื่อถีบตัวเอง ออกมาจากงานหนักและความลำบาก และด้วยความตั้งใจอยากทำงานดีๆ แต่งตัวสวยๆ แต่มีแค่วุฒิ ม.6 ไปสมัครงานที่ไหนก็ถูกปฏิเสธ จึงคิดว่าสิ่งที่จะให้ชีวิตดีกว่าเดิมคือต้องมีวุฒิสูงกว่านี้

เธอทำงานจนอายุ 23 ปี จึงตัดสินใจเรียน ป.ตรี เอก อังกฤษธุรกิจ ม.ราชภัฏเลย เพราะอยากเก่งหลายๆ ภาษา เพื่อจะได้ขายบ้านให้ชาวต่างชาติได้ และเมื่อเรียนจบเธอก็ทำฝันสำเร็จได้เป็นเซลขายบ้าน ในบริษัทใหญ่ที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆของเมืองไทย สร้างความภูมิใจให้กับเธอเป็นอย่างมาก เพราะปกติแล้วต้องทดลองงานสามเดือนถึงจะผ่านงาน แต่เธอทำงานแค่เดือนเดวก็ผ่านฉลุย เพราะมีเพื่อนร่วมงานที่ดี มีผู้จัดการที่ดี ที่คอยสนับสนุน

ชีวิตเมย์กำลังเริ่มต้นด้วยดี แต่แล้วเกิดเหตุไม่คาดคิด เธอเดินลื่นล้ม ขาหักไปทำงานไม่ได้ โชคดีบริษัทให้โอกาส หากหายดีให้กลับไปทำงาน แต่เธอตัดสินใจปฏิเสธทั้งๆ ที่เป็นงานที่ใฝ่ฝันมาตลอดชีวิต เพราะสามีของเธอทำให้เห็นว่า ปลากัด สามารถเลี้ยงเธอได้ในยามลำบาก หลังจากมาช่วยสามีขายปลากัดเมื่อตอนขาหัก โดยใช้วิชาที่เรียนมาพูดคุยกับลูกค้าชาวต่างชาติ ทำให้เธอรู้สึกสนุกและมีความสุขมาก เธอจึงตั้งใจจริงจังยึดอาชีพแม่ค้าปลากัดตามรอยสามี โดยให้เหตุผลว่า

“6ปีที่แล้ว ปลากัด ยังมีคนทำน้อย วงการปลายังเล็กมาก สามีเมเป็นคนแรกๆ ที่นำเข้า ปลากัดจากอินโดฯ ตอนนั้นเขามีรายได้ เดือนละแสนกว่าจากการขายปลา เมย์เลยตัดสินใจลาออกจากงาน ประจำ มาทำปลากัดเต็มตัว เพราะมองเห็นโอกาส ว่าปลากัดจะไปได้ไกล”

เหตุที่มั่นใจว่าอาชีพขายปลากัดช่วยให้ฐานะชีวิตดีขึ้นได้แน่นนอน นั่นเป็นเพราะทั้งสองมองเห็นการตลาดที่เติบโตขึ้นเรื่อยๆ จากฝีมือพวกเขาเองที่เริ่มลงทุนน้อยมาก จากแค่กะละมังใบละ 20บาท ไม่กี่ใบ กับขวดน้ำ ตามร้านขายของเก่า ไปซื้อมาฟอร์มปลากัด กก.ละ 16 บาท ได้มากถึง 30 ขวด พอเริ่มมีรายได้จากการขายปลา ก็ขยับขยาย ซื้อโหลแก้วเหลี่ยมใส่ปลากัด ทำชั้นวางเหลี่ยมเองเพื่อประหยัด ต้นทุน

เปิดร้านเล็กๆ พื้นที่ 1ล๊อค ที่สวนจตุจักร กทม. จนมีลูกค้าประจำหลายประเทศ แต่พื้นที่บ้านใน กทม. มีน้อย เพาะปลาไม่พอขาย เมย์และสามีจึง ตัดสินใจมาทำฟาร์มปลากัดที่ จ. แพร่บนเนื้อที่ 7 ไร่กว่าแบบครบวงจร โดยนอกจากเพาะพันธุ์ปลากัด ปลาหางนกยูงแล้ว ยังเพาะไรแดงเอง เพื่อลดการออกไปหาไรแดงจากที่อื่นมาเป็นอาหารให้ลูกปลา ปลูกต้นใบหูกวางในนาไว้ใช้และขายใบหูกวาง และ ทำนาด้วย สำหรับรายได้นั้นเมย์บอกว่าดีมาก ภายในปีเดียวสามารถปลดหนี้นอกระบบสองแสน

“แฟนเพาะปลากัดขายมาจะหกปีแล้ว เราขายจริงๆ จังๆ 3 ปีแล้ว รายได้เฉลี่ยถือว่าดีมาก มีเงิน ใช้หนี้นอกระบบสองแสนบาท รายจ่ายสำหรับเลี้ยงปลาต่อเดือน ค่าจ้างคนงาน 10,000 บาท เมื่อก่อนจ่ายค่าน้ำค่าไฟเดือนละ 2,500บาท แต่ตอนนี้ไม่ได้จ่ายแล้ว เพราะใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ค่าน้ำมันรถวิ่งไปตักไรแดง มาเป็นอาหารปลาก็เดือนละ 2,000บาท"

เมย์เล่าต่อว่า ปลากัดเลี้ยง 3-6 เดือน ก็สามารถขายได้แล้ว แต่ขึ้นอยู่กับประเภทของปลาด้วย ราคาปลาแบ่งเป็น 3 ระดับ โดยราคาต่ำสุด เป็นเกรดลอง ตัวละ 50 บาท เกรดเอ ตัวละ 100-150 บาท และ เกรด VIP ตัวละ 1500-3500 บาท ปลาที่เคยขายแพงที่สุดเมื่อ 2-3 ปีที่แล้วเรียกว่า นีโม่แพทเทิร์นสวย หน้ากากเคลือบมิด ราคา 13,000 บาท ปลาคุณภาพดี ต้องมีโครงสร้าง ดี สีสันสวยงาม แพทเทิร์น สวย

เทคนิคการขายจนมีรายได้ดี เมย์ยึดหลัก 2 ข้อ คือ ซื่อสัตย์ และรักในอาชีพ คัดปลาเกรดสวย ตรงตามรูป ตรงตามปกไซส์ สี ส่งให้ตามลูกค้าต้องการ ทำให้ ลูกค้าถูกใจและจะซื้อปลากับฟาร์มของเธอเป็นประจำ ในการขายปลาทุกครั้ง เมย์บอกว่าไม่หวังอะไรมาก หวังแค่ลูกค้า ขายได้กำไรเยอะๆ เพราะหากลูกค้าได้กำไรเยอะก็จะนึกถึงเธอ สำหรับเธอแล้ว ลูกค้าไม่ใช่พระเจ้า แต่ลูกค้าคือคนในครอบครัวที่เธอต้องรักและดูแล ให้ดีที่สุด

“ขอเป็นอีกหนึ่งกำลังให้คนที่กำลังทำตามฝัน อยากทำตามฝันแต่กลัว ความกลัวก็แค่จินตนาการที่เราคิด แต่การกระทำคือความจริง เห็นข่าว หลายคนเจอวิกฤตชีวิต ฆ่าตัวตาย อดยากมากมาย ไม่มีเงิน สารพัด ปัญหา แต่เมย์ยังคงพอดิ้นรนได้ วิกฤตโควิดเป็นช่วงที่ลำบากนัก แต่ยังไงก็ต้องผ่านมันไปให้ได้ เพื่อจะได้มีเรื่องเล่าสู่ลูกหลานฟัง หากใครกำลังท้อ ขอให้คิดซะว่าถ้าผ่านมันไปได้เราจะเก่งมาก และ คงไม่มีอุปสรรคใดขวางเราได้อีก” เมย์กล่าวทิ้งท้ายให้กำลังใจ

ทีมข่าวเฉพาะกิจไทยรัฐออนไลน์ รายงาน

ข่าวน่าสนใจ

รักแท้ต่างวัย 47 ปี แต่งงาน 1 เดือนมีลูก เผยเคล็ดลับ เป็นพ่อวัย 67

พิการก็จะเลี้ยง แม่ใจสู้ ดื้อจนยื้อชีวิตลูก 700 กรัม รอดปาฏิหาริย์ (คลิป)

"โดม เดอะสตาร์" Cyberbullying 5 ปี จมทะเลทุกข์ ต้องให้...ใจถึงหายดี (คลิป)

ปาฏิหาริย์ 1% อายุ 46 มีลูก รอนาน 8 ปี คิดว่า "วัยทอง" กลายเป็น "ท้อง"

เพิ่งเคยเห็นน้ำตาพ่อ ลูกเก็บเงินวันละ 50 บาท 6 ปี ปลดหนี้แสน

Let's block ads! (Why?)


June 29, 2020 at 05:30AM
https://ift.tt/2ZllP1N

ปลากัดพลิกชีวิต จากติดลบ ส่งขาย 6 ประเทศ ปีเดียวปลดหนี้นอกระบบสองแสน - ไทยรัฐ
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

ひとり親家庭など支援 フードパントリー/埼玉県(テレ玉) - Yahoo!ニュース - Yahoo! JAPAN

新型コロナウイルスの影響で生活が厳しくなっている「ひとり親家庭」などを支援するため、食品を無償で提供する「フードパントリー」が川口市内で行われました。 この活動は、臨時休校に伴う給食の休止により、食費が家計を圧迫し、生活に困る家庭を支援しようと、市民団体「日本こどもの居場所ネットワーク埼玉支部」と、医療生協さいたまが共同で開いたものです。 受付で検温を行った後、利用者にはひと家庭、3日から5日分の食材の詰め合わせが配られました。28日用意された食材セットには県内の自動車関連企業のほか、宮城県石巻市の運送会社などから寄付された米や野菜、魚の缶詰などが入っています。

Let's block ads! (Why?)



"魚の缶詰" - Google ニュース
June 28, 2020 at 03:58PM
https://ift.tt/31oehhf

ひとり親家庭など支援 フードパントリー/埼玉県(テレ玉) - Yahoo!ニュース - Yahoo! JAPAN
"魚の缶詰" - Google ニュース
https://ift.tt/35QqHx6
Shoes Man Tutorial
Pos News Update
Meme Update
Korean Entertainment News
Japan News Update

Saturday, June 27, 2020

"ไส้อั่วปลานิล" สูตรพื้นบ้านสร้างอาชีพ - เดลีนีวส์

ikanberenangkali.blogspot.com

ปัจจุบันเมื่อผู้คนหันมาสนใจสุขภาพตัวเองและคนรอบข้างมากขึ้น ส่งผลให้เมนูอาหารเพื่อสุขภาพผุดขึ้นมามากมาย ไม่ว่าจะเป็น เครื่องดื่มธัญพืช, น้ำผลไม้, ข้าวกล้องสมุนไพร และอื่น ๆ อีกสารพัด รวมทั้ง ไส้อั่ว ที่เราเห็นมีขายกันทั่วไป ก็สามารถนำมาพลิกแพลงดัดแปลงให้เกิดความหลากหลาย เป็นการชูจุดเด่นเน้นจุดขาย ด้วยการนำวัตถุดิบอย่างปลานิล มาผสมสมุนไพรที่มีประโยชน์ เป็นอาหารเพื่อสุขภาพที่สามารถสร้างยอดขายได้เป็นอย่างดี วันนี้คอลัมน์ ช่องทางทำกิน นำข้อมูลมาฝากกัน...

ผู้ที่จะมาให้ข้อมูลในเรื่องนี้ คือ วิโรจน์  ศรีเจริญจิตร ที่ปรึกษาวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงดงตะเคียน เล่าถึงที่มาของผลิตภัณฑ์ไส้อั่วปลานิลให้ฟังว่า อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นแหล่งเลี้ยงปลานิลที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของเชียงราย เกษตรกรเกือบทั้งอำเภอขุดบ่อเลี้ยงปลากันอย่างเป็นล่ำเป็นสัน ทำให้มีผลผลิตปลานิลออกสู่ตลาดปีละหลายร้อยหลายพันตัน แต่เมื่อเจอสถานการณ์วิกฤติเศรษฐกิจชาวบ้านที่เลี้ยงปลาประสบกับภาวะขาดทุน ปลาล้นตลาด ราคาตกต่ำ ตนจึงคิดหาทางช่วยเหลือชาวบ้านด้วยการประสานงานกับประมงจังหวัดเชียงรายขณะนั้นมาช่วยเหลือ


       
จากนั้นตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงดงตะเคียน ได้รับการอบรมด้านการแปรรูปอาหารจากปลาจากหน่วยงานราชการเเละภาคเอกชนเพื่อประกอบเป็นอาชีพของราษฏรในหมูบ้านดงตะเคียน แล้วสรุปออกมาเป็นไส้อั่วปลา เพราะไส้อั่วเป็นอาหารพื้นเมืองที่คนภาคเหนือนิยมกินกัน ที่พบเห็นโดยมากจะเป็นไส้อั่วหมู แต่ไส้อั่วปลายังไม่มีใครทำขาย ในตอนแรกยอมรับว่าผลิตออกมาขายคนในหมู่บ้านได้รับเสียงตอบรับไม่ค่อยดี เพราะคนไม่รู้จัก แต่ก็อดทนทำต่อไปเรื่อย ๆ วันหนึ่งได้รับการติดต่อให้ไปออกงานประจำจังหวัดเชียงรายและงานอื่น ๆ ปรากฎว่ากระแสตอบดีมาก มีการบอกปากต่อปากขยายไปเป็นวงกว้างทำให้มีคนรู้จักมากขึ้นเรื่อย ๆ ออร์เดอร์เข้ามามากมาย รสชาติของไส้อั่วปลาจะมีรสเค็มนำและเผ็ดเล็กน้อย ชาวล้านนานิยมทานกับข้าวเหนียว

อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทำไส้อั่วปลา หลัก ๆ มีดังนี้...เครื่องยัดไส้, กะละมัง, ทัพพี, ถังน้ำ, หม้อนึ่ง, เครื่องปั่น, เตาอบหรือเตาถ่าน และอุปกรณ์ครัวเบ็ดเตล็ดสามารถหยิบยืมได้จากในครัว

วัตถุดิบ ที่ใช้ ตามสูตรก็มี...เนื้อปลานิลสดล้วน ๆ 10 กิโลกรัม ต่อพริกแกง 1 กิโลกรัม, ไส้หมู, น้ำปลา, ซีอิ๊วขาว, น้ำตาล, ต้นหอม, ผักชี, ใบมะกรูด ส่วนผสมเครื่องแกง มีพริกแห้งเม็ดใหญ่, หอมแดง กระเทียม, ข่า, ตะไคร้, ขมิ้น และเกลือ

ขั้นตอนการทำ ไส้อั่วปลานิล

เริ่มจากนำไส้หมูมาล้างทำความสะอาดเพื่อไม่ให้มีกลิ่น ทำการกลับด้านเอาส่วนของด้านในลำไส้ออกมาด้านนอก แล้วนำไปคั้นกับมะขามเปียก เพื่อไม่ให้ไส้มีรสขม ล้างน้ำอีกครั้ง ก่อนกลับไส้เหมือนเดิมพักไว้

ปลานิลสดมาล้างทำความสะอาด ขอดเกล็ด แล่เอาเฉพาะเนื้อ นำมาสับหรือบดพอหยาบ ๆ ตั้งพักไว้สักครู่  นำใบมะกรูด ต้นหอม และผักชีมาล้างให้สะอาด ผึ่งให้แห้งแล้วซอยเตรียมไว้

ต่อไปเป็นการทำพริกแกง โดยนำสมุนไพรที่เตรียมไว้มาล้างให้สะอาด เช่น ข่า, ตะไคร้, หอมแดง, กระเทียม, ขมิ้น, แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้ำแล้วหั่นเตรียมไว้ พริกชี้ฟ้าแห้งเม็ดใหญ่ ผ่าเอาเม็ดออกแล้วแช่น้ำให้นิ่ม สงขึ้นสะเด็ดน้ำ แล้วนำส่วนผสมทั้งหมดโขลกรวมกันให้ละเอียด

นำพริกแกงสมุนไพรที่โขลกเสร็จแล้วมาผสมกับเนื้อปลาที่บดเตรียมไว้ ปรุงรสด้วยน้ำปลา ซีอิ๊วขาว น้ำตาล ใส่ตามด้วยใบมะกรูดซอย, ต้นหอมซอย และผักชีซอย แล้วคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากันดี ก่อนจะนำไปยัดลงในไส้หมูยาวด้วยเครื่องยัดไส้อัตโนมัติ ทำจนส่วนผสมหมด ก็จะได้ไส้อั่วปลาเป็นขด ๆ นำไส้อั่วปลาที่ได้ไปนึ่งในลังถึง ประมาณ 15 นาที โดยขณะนึ่งใช้ไม้จิ้มฟันแทงไส้ให้มีการระบายน้ำในไส้อั่วออกมาเพื่อกันไม่ให้ไส้แตก

หลังจากนั้นก็นำมาทาสีผสมอาหารเล็กน้อย โดยใช้สีผสมอาหารสีแสด ผสมกับน้ำแล้วนำไส้อั่วลงจุ่มแล้วนำขึ้นพักไว้ ที่ทำอย่างนี้เพื่อให้ไส้อั่วปลามีสีสันสวยงาม  เมื่อต้องการจะรับประทานให้นำไปย่างเตาถ่านหรืออบในเตาอบที่ใช้สำหรับอบไส้อั่ว ถ้าย่างเตาถ่านให้ใช้เปลือกมะพร้าวแห้งผสมลงไปด้วย ย่างไฟอ่อน ก็จะทำให้ไส้อั่วมีสีสวยและกลิ่นหอม

เคล็ดลับความอร่อยของไส้อั่วปลา วิโรจน์ บอกว่าอยู่ที่รสชาติความกลมกล่อมของสมุนไพรไทยเข้มข้น หอม เข้าเนื้อปลา และไส้อั่วนี้ก็สามารถจะเก็บไว้ในตู้เย็นได้นานเป็นเดือน นอกจากนี้ทางกลุ่มฯ ยังมีสินค้าอื่น ๆ อีกหลายอย่างเช่น ห่อหมกปลานิล, ปลานิลแดดเดียว เป็นต้น 

ราคาขาย ไส้อั่วปลานิล ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงดงตะเคียน ขายกิโลกรัมละ 300 บาท
 
ใครสนใจจะชิม ไส้อั่วปลานิล สูตรสมุนไพรของวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเศรษกิจพอเพียงดงตะเคียน ก็แวะเวียนไปลองชิมกันดูได้ตามงานโอทอปและงานประจำจังหวัดต่าง ๆ แหล่งผลิตตั้งอยู่ที่ 56 หมู่ที่ 21 ตำบลเจริญเมือง  อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ต้องการสอบถามข้อมูลหรือสั่งออร์เดอร์ เจ้าของกรณีศึกษา “ช่องทางทำกิน” เจ้านี้ทางโทรศัพท์ติดต่อ 08-9952-0817, 08-3592-6017 ซึ่งนี่ก็เป็นอีกรูปแบบ “ช่องทางทำกิน” จากการพลิกแพลง.

...........................................
เชาวลี ชุมขำา : เรื่อง

Let's block ads! (Why?)


June 28, 2020 at 11:00AM
https://ift.tt/2Zg29wb

"ไส้อั่วปลานิล" สูตรพื้นบ้านสร้างอาชีพ - เดลีนีวส์
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

ทฤษฎีปลาฉลาม - ประชาชาติธุรกิจ

ikanberenangkali.blogspot.com

คอลัมน์ เอชอาร์คอร์เนอร์

โดย อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา

ชาวญี่ปุ่น เป็นชาติที่ชอบบริโภคปลาเป็นชีวิตจิตใจ คนญี่ปุ่นจะรู้ทันทีว่าปลาที่กินสด หรือไม่สด และปกติปลาเป็น (ยังมีชีวิต) มีราคาสูงกว่าปลาตาย (ที่แช่แข็งไว้) มาก

แต่ปัญหาคือเวลาชาวประมงออกเรือ โดยเฉพาะเรือใหญ่ที่จับปลาเป็นอุตสาหกรรม ไม่ได้ไปเช้าเย็นกลับ ดังนั้น ปลาที่จับได้ก็ไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากต้องแช่แข็งไว้ จนวันหนึ่งมีคนคิดได้ว่าน่าจะสูบน้ำสักนิดหน่อยมาใส่ไว้ใต้ท้องเรือ แล้วเอาปลาที่จับได้ขังไว้ก่อน อย่าเพิ่งให้ตายจนกว่าจะถึงฝั่ง แล้วจึงจับขึ้นมาใหม่

นับว่าเป็นความคิดที่เฉียบแหลมมาก ง่าย ๆ แต่ได้ผลดี

ปัญหาทำท่าจะจบลงแบบแฮปปี้เอนดิ้ง แต่ในความเป็นจริงกลับไม่เป็นเช่นนั้น เพราะคนญี่ปุ่นกินปลามาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ จึงรู้จักปลาเป็นอย่างดี แม้ปลาจะยังสดอยู่ แต่พอปรุงเป็นอาหารแล้วทานเข้าไป ก็รู้ได้ทันทีว่า “รสชาติไม่ดี” อย่างที่ควรจะเป็น

เพราะปลาที่ถูกขังอยู่ใต้ท้องเรือเป็นเวลานานหลายวัน ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหว ทำให้เนื้อปลาไม่แน่นเหมือนปลาที่อยู่ในทะเล แทนที่จะขายได้ราคาดี ก็กลายเป็นว่าราคาตกไปอีก

แล้วจะทำยังไง ?

หลังจากครุ่นคิดหาหนทางอยู่นานว่าจะทำอย่างไรให้ปลาที่ถูกขังไว้ ยังคงขยันว่ายน้ำเหมือนตอนอยู่ในทะเล ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่าต้องใส่ “ปลาฉลาม” สักตัวลงไปใต้ท้องเรือด้วย เพื่อให้ไล่กินปลาที่ถูกขังไว้

แม้ฟังดูจะเป็นความคิดที่ไม่ค่อยเข้าท่าในตอนแรก แต่ปรากฏว่าได้ผลดีมาก เพราะปลาเล็กปลาน้อยต่างต้องว่ายน้ำ “หนีตาย” จากการกลายเป็นเหยื่อของฉลามที่คอยไล่กินตลอดเวลา แม้ชาวประมงจะสูญเสียปลาบางส่วนไปเป็นอาหารให้เจ้าฉลาม แต่ก็พบว่าปลาที่เหลืออยู่ทุกตัวแข็งแรงมาก เพราะต้องว่ายน้ำทั้งวันและทุกวัน

ปลาพวกนี้เมื่อถึงฝั่งก็ขายได้ราคาดี คุ้มค่ากับการสูญเสียนิด ๆ หน่อย ๆ แบบเทียบกันไม่ได้เลยทีเดียว

อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้มีความละเอียดอ่อนมากกว่าแค่หาฉลามมาหนึ่งตัว แล้วโยนใส่ลงไปในบ่อ หัวใจสำคัญคือความพอเหมาะพอเจาะ ทั้งในเรื่องเวลา (ถ้าใส่เร็วไป ปลาเล็กถูกกินหมด ถ้าใส่ช้าไป ปลาส่วนใหญ่อาจไม่ว่ายน้ำแล้ว) จำนวนและขนาดของปลาฉลาม (ใส่มากไปก็เสียหาย ใส่น้อยไปก็ไม่พอจะไล่ปลาอื่น ๆ ใส่ตัวใหญ่ไปก็กินปลาหมดบ่อ ใส่ตัวเล็กไปก็ไม่ได้ผล)

หลักการนี้จึงเป็นศิลป์มากกว่าศาสตร์

แนวคิดทำนองเดียวกันนี้ ภายหลังถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการคน ในองค์กรยุคปัจจุบันด้วย

องค์กรใดที่พนักงานทำงานเฉื่อย ๆ ชา ๆ ก็มองหาพนักงานสักคนที่มีสไตล์การทำงานแบบดุดัน ถึงลูกถึงคน คอยไล่บี้ ตามจี้คนอื่นอยู่ตลอดเวลา มาเป็น “ปลาฉลาม” ไล่เพื่อน ๆ

จริงอยู่ แม้พนักงาน “ปลาฉลาม” อาจทำให้บรรยากาศโดยรวมเสียไปบ้าง มีคนไม่สบอารมณ์บ้าง มีความขัดแย้งเกิดขึ้นบ้าง แต่ก็ทำให้พนักงานคนอื่น ๆ ตื่นตัว คอยวิ่งหนีปลาฉลามด้วยความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น

บริษัทของผมก็มี “ปลาฉลาม” ที่ถูกใส่เอาไว้ด้วยความตั้งใจ แต่ทุกวันก็คอยเฝ้าระวังไม่ให้ “ปลาฉลาม” ตัวใหญ่เกินไป จนไล่กินปลาเล็กปลาน้อยจนหมดเกลี้ยง

ที่บริษัทของคุณล่ะ มี “ปลาฉลาม” บ้างไหม ?

และใช่คุณรึเปล่า ?

Let's block ads! (Why?)


June 28, 2020 at 07:04AM
https://ift.tt/31oEqfO

ทฤษฎีปลาฉลาม - ประชาชาติธุรกิจ
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

Un "poisson glouton" installé sur la plage ouest - Midi Libre

ikanberenangkali.blogspot.com

Après le succès rencontré en 2019, le Département relance l’opération "poissons gloutons" cet été, à plus grande échelle.

Ainsi, mercredi 24 juin, un exemplaire a été installé sur la plage ouest, à proximité de l’école de voile. Cette sculpture est une poubelle dans laquelle Héraultais et vacanciers sont invités à déposer les déchets plastiques.

Près de 30 poissons seront installés dans les communes du littoral et de l’arrière-pays pour sensibiliser la population à des problèmes de pollution. En 2019, avec quatre "poissons gloutons" installés par le Département à La Grande-Motte, Frontignan, Agde et Vendres, 115 m3 de plastique avaient été récoltés. Avec sept fois plus de poissons dans tout l’Hérault, ce sont plus de 800 m3 qui devraient être collectés cet été.

Le Département fournit le poisson et l’installe. Les communes et les intercommunalités s’occupent de la collecte des déchets plastiques.

Pour l’édition 2020, le Département a amélioré le design des "poissons gloutons". Il a confié à France enseigne la création de la structure métallique. L’habillage du poisson en fil de pêche a, lui, été réalisé par les personnes en situation de handicap de l’Esat Thierry-Albouy de Béziers.




June 27, 2020 at 10:15AM
https://ift.tt/38cRmHi

Un "poisson glouton" installé sur la plage ouest - Midi Libre

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

Friday, June 26, 2020

ปฏิกิริยาปลาแคตฟิช - ไทยรัฐ

ikanberenangkali.blogspot.com

[unable to retrieve full-text content]

ปฏิกิริยาปลาแคตฟิช  ไทยรัฐ
June 27, 2020 at 05:01AM
https://ift.tt/2YDkAMj

ปฏิกิริยาปลาแคตฟิช - ไทยรัฐ
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

【THE INTERVIEW】発酵学者・文筆家 小泉武夫さん - 産経ニュース

小泉武夫さん
小泉武夫さん
その他の写真を見る(1/2枚)

□『食いしん坊発明家』(新潮社・1400円+税)

■人生、恋よりも食い気 胃袋刺激する抱腹の自伝的小説

 「書きながら何度も笑ってしまいました」

 チャーシュー麺を食べたときには〈脂肪のペナペナとしたコク味〉など独特の表現で味覚と視覚を刺激する。ちゃめっ気たっぷりで気取らない文章は明るく、読む者を幸せな気持ちにさせてくれる。

 本書は食のエッセーで人気の小泉さんの自伝的青春小説だ。

 福島県にある日本酒の蔵元に生まれた“食いしん坊ガキ大将”が、東京の大学で発酵学を学び、その知識を武器に、新しい食品を生み出していく。発明に没頭する様子が面白おかしくつづられている。

 「幼いころから台所で母や姉たちの料理づくりを見ているのが好きでした。食いしん坊だったからいろんなことを考えるのです」

 大学を卒業したものの、就職はせず、画策して父親の酒造会社の東京営業所を設立。その所長として親のすねをかじる日々。たった一人の職場で食へのこだわりが開花し、未知の味の発見へと導かれる。慰安旅行として北海道に。たまたま立ち寄った牧場で、市場価格が暴落して出荷されなかったカボチャの話を聞く。それがヒントとなり、カボチャを原料に「黄色い砂糖」を生産。特許を取得し、特許権を食品会社に譲渡。

 また捨てられてしまうエビの殻を、ラードで揚げた香ばしい調味料を開発。なじみの中華料理店でそれを使ってエビチャーハン、エビラーメンなどとしてメニューに加えると大人気に。この特許権は製菓会社で使われ、スナック菓子のヒットとなった。

 「食べてひらめけ、ということですね。この小説の中での発明は本当のことです」

 廃棄されてしまうものを利用しているというのがミソだ。

 「使えるものは使わないともったいないですからね」

 小泉さんは味わい深いエッセーを数多く書いているが、小説もしみじみとして滋味あふれる。

 昭和20年代から30年代、阿武隈(あぶくま)山地の恵まれた自然の中で育った少年時代。食にまつわるエピソードが痛快だ。中学時代、台所の乾物置き場からスルメを探し出し、あぶってポケットに詰め込んで遊びに出てしまう。空き地で食べていると、その匂いにつられて寄ってきた犬にしつこく追いかけられ、木に登って逃れたことも。さらに通学用のかばんには、魚の缶詰とともにマヨネーズ、しょうゆまでも入れていた。腹が減れば仲間の悪童が畑から盗んだ熟したトマトを、神社に隠れてかぶりつくという具合。ゆるくおおらかだった時代の空気が漂う。

続きを読む

Let's block ads! (Why?)



"魚の缶詰" - Google ニュース
June 27, 2020 at 12:00PM
https://ift.tt/3844yy9

【THE INTERVIEW】発酵学者・文筆家 小泉武夫さん - 産経ニュース
"魚の缶詰" - Google ニュース
https://ift.tt/35QqHx6
Shoes Man Tutorial
Pos News Update
Meme Update
Korean Entertainment News
Japan News Update

番茄玉米魚罐頭「營養更升級」 營養師:天天吃也沒問題! - ETtoday

ikanberenangkali.blogspot.com

經過高溫烹煮的玉米罐頭,所含的玉米黃素更容易被人體吸收,購買時選擇標明無鹽的品項,更加健康。(圖/報系資料照)

▲經過高溫烹煮的玉米罐頭,所含的玉米黃素更容易被人體吸收,購買時選擇標明無鹽的品項,更加健康。(圖/資料照)

圖文/CTWANT

「我叫它們『單純罐頭』!包括番茄、玉米、菠菜、鰻魚及鮪魚或沙丁魚、菠菜、鳳梨等,都是可以天天吃的罐頭。」程涵宇營養師說,番茄罐頭經過高溫加熱與攪打,可以破壞番茄的細胞壁,釋放更多的茄紅素,相較於天然番茄,讓人體更好吸收。「菠菜令人詬病的草酸,高溫製成罐頭之後也被去除;而鰻魚等含骨頭的魚罐頭,還能同時吃進魚骨補充鈣質,都更勝天然食物。」

至於鳳梨,鳳梨酵素具有廣泛的治療益處,例如對鼻竇炎、血栓性靜脈炎、支氣管炎都有幫助,也能緩解關節炎、腹瀉和各種心血管疾病,但如果腸胃不佳可能會造成胃痛,或是入口時感到刺痛。

請繼續往下閱讀...

購買番茄罐頭時,選擇已攪碎的更好,因番茄經高溫加熱、攪打,會釋放出更多茄紅素。(圖/123RF)

▲購買番茄罐頭時,選擇已攪碎的更好,因番茄經高溫加熱、攪打,會釋放出更多茄紅素。(圖/123RF)

經過高溫處理之後的鳳梨罐頭,鳳梨酵素的活性也會跟著遞減,平時不敢吃鳳梨的人就可食用,但鳳梨酵素的優點也會因此打折扣,但仍能獲取膳食纖維,有助腸道健康。

玉米罐頭則是其中最廣泛被使用的品項,「玉米黃素是屬於脂溶性維生素,高溫烹煮過更好吸收。」程涵宇說,可以選擇無鹽、非基改的玉米罐頭,更加健康。

鰻魚、沙丁魚等魚罐頭,都含有鬆軟酥脆的魚骨,食用時可一併補充鈣質。(圖/報系資料照)

▲鰻魚、沙丁魚等魚罐頭,都含有鬆軟酥脆的魚骨,食用時可一併補充鈣質。(圖/資料照)

上述罐頭在超市、電商都可購買得到,菠菜罐頭則比較難找,可在進口較多外國罐頭的頂級超市找找看。「或可以選擇網購平台販售的朝鮮薊心、鷹嘴豆罐頭,含有豐富的蛋白質、鉀,朝鮮薊心的鎂含量更是南瓜的2.5倍,都有助於肌肉生成與人體神經傳導功能。」

鳳梨酵素雖然有助於舒緩關節炎、腹瀉,以及降低罹患心血管疾病風險,但也可能引發胃部不適。(圖/123RF)

▲鳳梨酵素雖然有助於舒緩關節炎、腹瀉,以及降低罹患心血管疾病風險,但也可能引發胃部不適。(圖/123RF)

延伸閱讀
健康罐頭3/蔬果「新鮮吃」營養沒話說 冷藏3天後就一路慘跌
李沐 最強新人沒偶包 大方談愛體驗人生
傳大馬羽協不想辦馬來西亞公開賽 戴資穎恐失4連霸

Let's block ads! (Why?)




June 27, 2020 at 09:06AM
https://ift.tt/3i7fQ9m

番茄玉米魚罐頭「營養更升級」 營養師:天天吃也沒問題! - ETtoday

https://ift.tt/2AAxDVG

'ถ้ำปลา' พร้อมเปิดให้ท่องเที่ยว - สยามรัฐ

ikanberenangkali.blogspot.com

ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการเข้า ตรวจสอบความพร้อมของถ้ำปลา ในวนอุทยานถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ ต.ห้วยผา อ.เมือง ฯ ก่อนเปิดแหล่งท่องเที่ยว อีกครั้งหลังปิดตัวลงช่วงโควิดเริ่มระบาดในประเทศ
เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563 เวลา 10.30 น. นายสุวงพงศ์ กิติภัทย์พิบูลย์ ผวจ.แม่ฮ่องสอน พร้อมด้วย นพ. ทศพล ดิษฐ์ศิริ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน นายพงษ์พีระ ชูชื่น นายอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน พร้อมหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่เข้าตรวจเยี่ยมและดูความพร้อมภายในวนอุทยานถ้ำปลา ต.ห้วยผา อ.เมืองแม่ฮ่องสอน ก่อนที่จะเปิดให้นักเที่ยวเข้าชมปลาพลวงขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในถ้ำ หรือพักผ่อนหย่อนใจภายในวนอุทยานถ้ำปลาในวันที่ 1 ก.ค. 2563 นี้ หลังจากที่ปิดชั่วคราวมานานกว่า 3 เดือนจากสถานการณ์ไวรัสโควิด – 19 แพร่ระบาด

โดยมีนายกฤษฏา แก้วบุตร หัวหน้าวนอุทยานถ้ำปลา – ผาเสื่อ จังหวัดแม่ฮ่องสอน นำเยี่ยมชมดูสภาพการฟื้นฟูทางธรรมชาติของวนอุทยานถ้ำปลา การเตรียมพร้อมของบุคลากร และเครื่องมืออุปกรณ์ในการดำเนินตามมาตรการป้องกันเชื่อไวรัสโควิด – 19 ให้เป็นไปตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข รองรับนักท่องเที่ยวในรูปแบบ New Normal ประกอบด้วย การเช็คอิน เช็กเอ้าท์ ผ่านแอปพลิคเคชั่นไทยชนะ การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย การสวมหน้ากากอนามัย และการเว้นระยะห่างทางสังคม ขณะเข้าไปเที่ยวชมภายในวนอุทยาน ฯ ตลอดจนการปฏิบัติตามระเบียบของอุทยาน ฯ ในการช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมต่างๆ

นายสุวงพงศ์ ฯ ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน กล่าวหลังจากเยี่ยมชมภายในอุทยานถ้ำปลาแล้วว่า “ ขณะนี้อุทยานถ้ำปลามีความพร้อมสำหรับนักท่องเที่ยวแล้วประมาณ 90 % มีการวางมาตรการป้องกันโรคได้ตามมาตรฐานของกระทาวงสาธารณสุข โดยเฉพาะการจัดทำโปรแกรมแอปพลิคเคชั่นไทยชนะ ไว้ตรวจสอบนักท่องเที่ยว ขณะที่ภายในวนอุทยานถ้ำปลา หลังจากปิดมานานหลายเดือนสภาพทางธรรมชาติมีการฟื้นฟูจากเดิมเป็นอย่างมาก มีปลาสีทองและสีฟ้าว่ายน้ำไปมาสลับสวยงาม แต่ละตัวมีน้ำหนัก 7 – 8 กิโลกรัม ผู้คนขนานนามให้ว่าเป็นปลารักษาศีล เพราะทานแต่ผักและพืชเป็นอาหาร ไม่เคยทานเนื้อ หลังจากเปิดให้เข้าชมตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.63 เป็นต้นไป ก็อยากให้นักท่องเที่ยวได้พากันแวะมาเที่ยวชม นอกจากนี้ทางจังหวัดจะมีการจัดจำหน่ายสินค้าโอทอปอย่างหลากหลายเพิ่มขึ้นในแหล่งท่องเที่ยววนอุทยานถ้ำปลา เพื่อเป็นเพิ่มความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยวและส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน โดยสินค้าที่มาวางจำหน่ายจะต้องมีความสอดคล้องกับความเป็นธรรมชาติของถ้ำปลาด้วย

สำหรับแหล่งท่องเที่ยววนอุทยานถ้ำปลา จังหวัดแม่ฮ่องสอน จุดเด่นคือมีน้ำใสสะอาดไหลออกมาจากใต้ถ้ำตลอดทั้งปี โดยที่ไม่มีใครทราบว่าแหล่งน้ำนั้นมาจากที่ใด และจะมีปลาขนาดใหญ่อาศัยไว้อยู่แหล่งน้ำในถ้ำเป็นจำนวนมาก ซึ่งชาวบ้านเชื่อเป็นปลาศักดิ์สิทธิ์เฝ้าถ้ำ โดยนักท่องเที่ยวให้ความสนใจเดินทางไปเที่ยวชมในแต่ละปีประมาณ 80,000 – 100,000 คน โดยคนไทยมีการเก็บค่าเข้าชม 10 – 20 บาท และชาวต่างชาติ 50 – 100 บาทในปี 2562 ที่ผ่านมาสามารถเก็บค่าเข้าชมได้ 2,492,636 บาท

Let's block ads! (Why?)


June 26, 2020 at 04:49PM
https://ift.tt/2ZeXzyj

'ถ้ำปลา' พร้อมเปิดให้ท่องเที่ยว - สยามรัฐ
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

Taquiner le poisson... au Musée de la civilisation - ICI.Radio-Canada.ca

ikanberenangkali.blogspot.com

Histoires de pêche est la nouvelle exposition qui prend l’affiche à Québec, le 26 juin.

Les mordus et les simples taquineurs de poissons auront du plaisir à la découvrir.

Il y a dans cette exposition-là un sentiment de sérénité, de bien être, comme si on était en pleine nature sur le bord d'un lac, qui fait un bien fou surtout après trois mois de confinement, explique Stéphan La Roche, le président directeur général du Musée de la civilisation.

Un total de 350 objets sont exposés pour expliquer aux visiteurs l’évolution de la pêche sportive en eau douce de la Belle Province.

Chez nous, la pêche sportive remonte au 18e siècle. Aujourd’hui, plus de 1,2 million de permis de pêche sont délivrés chaque année au Québec.

Un canot vert, assez vieux, dans une salle d'exposition.

Ce canot proviendrait du camp que possédait la famille Rockefeller de New York au Club Tourilli dans la région de Portneuf.

Photo : Radio-Canada / Claudia Genel

Des histoires de pêche, il y en a eu d’innombrables au fil des siècles.

Dans cette exposition, le Musée en raconte quelques-unes de ces histoires, certaines moins vraies que les autres. On y parle de rivières et de lacs poissonneux ainsi que de sites à faire rêver n'importe quels pêcheurs.

Un lac virtuel, bleu, avec des conifères autour, dans une salle d'exposition.

Un lac virtuel et immersif a été réalisé en collaboration avec la firme Graphics eMotion.

Photo : Radio-Canada / Claudia Genel

Le Musée propose aussi une expérience sur un lac virtuel interactif et immersif.

Vous pourrez tenter d'y capturer la fameuse perchaude à fourrure. Les enfants se plairont à vouloir sortir la plus grosse prise de la journée, question que les histoires de pêche se perpétuent encore durant plusieurs générations.

Par ailleurs, c'est une exposition où il y a beaucoup d'espace, donc on ne ressent pas vraiment les contraintes des mesures sanitaires.

On a fait certains petits ajustements. Par exemple, il devait y avoir certains écouteurs, maintenant ce sont des haut-parleurs. Les gens peuvent sortir leurs appareils et aller sur l'application mobile. Donc ça se passe très bien, complète Stéphan La Roche.

Histoires de pêche est présentée au Musée de la civilisation de Québec jusqu'au 6 septembre 2021.

À lire aussi :




June 26, 2020 at 08:29AM
https://ift.tt/3fZb1wR

Taquiner le poisson... au Musée de la civilisation - ICI.Radio-Canada.ca

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

Thursday, June 25, 2020

【他為什麼殺警4】憂鬱妻不斷尋短 四口之家只靠魚罐頭配飯過一餐 - 鏡週刊

ikanberenangkali.blogspot.com

鄭再由的姻親高政雄(化名)說:「那次他躲在台北車站三天三夜,沒吃飯也沒洗澡,說要躲壞人、有人要害他。」高政雄將鄭再由騙回台南並帶至奇美醫院就診,確認鄭再由因內外交迫壓力,罹患了思覺失調症。

藥物稍稍控制了鄭再由的病情,但進步緩慢。面對債務,鄭再由一邊當大夜保全、一邊接配電工作。鄭再由隔著玻璃窗,對著記者強調:「我真的365天都沒休息,一天只睡3、4個小時。」然思覺失調症會影響患者反應,鄭再由的工作能力因病起伏,還款能力並不佳。

他曾想過跟地下錢莊借貸,幸好理智讓他放棄,不過仍辦了銀行推出的各種現金卡,以卡養債。儘管政府在2008年就通過債務協商機制,鄭再由對這些協助政策卻一無所知。

日子愈來愈難,有時鄭再由一家四口只吃一罐魚罐頭配白飯。他和詹素華決定離婚,讓二個女兒跟著沒工作能力的詹素華以取得中低收入戶資格,減免學費;但貧賤夫妻百事哀,升上高職的鄭欣如遇上同學霸凌,向學校師長求援無門,也誘發憂鬱。

「媽媽只要發病,就罵我畜生、說怎會生我這種女兒、要把我殺死…」鄭欣如說,母親開始會拿棒棍打她,還說「爸母拍囝,天公地道」。也是如此,鄭再由又和她們重新一起生活,「我太太這樣,我要照顧她。」

一起生活,沒有消弭詹素華母女的衝突。一次爭吵,鄭欣如不小心撞到詹素華,導致她二度傷到脊椎,開刀植入鋼釘,生活能力變得更差,不堪病痛,選擇跳海自殺。

詹素華依舊沒死成,住進精神病院1個月。出院後她又再度燒炭,被放學回家的鄭欣如目睹。接連自殺、家中有二名以上確診精神疾病的鄭再由一家,始終沒有得到衛生局或社會局的積極協助。鄭再由只能憑靠己力安撫詹素華。而此時他會變成出氣筒,不斷被問:「什麼時候你會拿錢回來?」最後為了省下區區幾百元掛號費,鄭再由於事發前2年漸漸不再回診,最終迎來他生命最大一次滑坡。

2018年初,鄭再由和以前工廠同事詹仔重逢。詹仔看鄭再由保全收入僅約2萬元,勸他和自己合作:他進機器維修,配電部分交由鄭再由負責,「少說也有7、8萬元收入」。於是鄭再由辭去保全,全心投入他熟悉的配電一途。

二人的合作方式偏向外包性質。鄭再由得先自行支付維修與配電的材料費用,待詹仔將機器還給客戶後才能取款。但鄭再由經常無法回收款項,使他積欠材料行費用,讓他不得不跟鄭欣如調用繳學費的錢。

妄想恐懼 對接現實委屈

根據筆錄記載,詹仔主張他沒有拖欠鄭再由帳款。詹仔卻在事發後私下跑去找鄭欣如,並給她一筆錢:「鄭再由在我這邊做的有2萬8千元,還有一條3萬元。但最刁難你爸的,是老陳。」

老陳是詹仔的朋友,事發前進口一台價值上千萬元的機器至詹仔那裡請鄭再由配電。老陳欲收取佣金,詹仔不給,雙方爭執,導致鄭再由的配電費用遲遲沒有著落。現實上虧欠他的人,成為鄭再由腦中「整人遊戲」的主謀。拖欠的帳款,則成為「謀財害命」的象徵。

  • 《鏡週刊》關心您:再給自己一次機會
  • 自殺諮詢專線:0800-788995(24小時)
  • 生命線:1995
  • 張老師專線:1980

Let's block ads! (Why?)




June 26, 2020 at 11:11AM
https://ift.tt/2Zdt23V

【他為什麼殺警4】憂鬱妻不斷尋短 四口之家只靠魚罐頭配飯過一餐 - 鏡週刊

https://ift.tt/2AAxDVG

ปลาทะเลป่นสมุนไพร : คอลัมน์จานเด็ด 77 จังหวัดเมื่อการเปิดร้านรับสอนแต่งหน้า - ข่าวสด

ikanberenangkali.blogspot.com

คอลัมน์ จานเด็ด77จังหวัด : ปลาทะเลป่นสมุนไพร

ปลาทะเลป่นสมุนไพร - เมื่อการเปิดร้านรับสอนแต่งหน้า และรับแต่งหน้าออกงานในวาระโอกาสต่างๆ เจอพิษโควิด-19 เข้าเต็มๆ

อนัตชิน มูสิกา หรือ แบงค์ ที่เคยเป็นลูกมือก้นครัวของแม่ในวัยเยาว์ จึงพลิกวิกฤตมาเริ่มต้นกับสิ่งที่รักมาตลอดชีวิต

ใช้สูตรอาหารที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากแม่และยาย ประกอบกับเพื่อนเป็นเจ้าของเรือประมงที่ประสบปัญหาขายปลาสดไม่ได้ราคา เพราะผลกระทบของการระบาดของ โควิด-19 เช่นกัน จึงเป็นที่มาของ “ปลาทะเลป่น สมุนไพร” ครัวไทยโบราณ โดย อนัตชิน

หรือชื่อที่คนในจ.ปัตตานีคุ้นเคยคือ “ปลาสมัน” หรือ ซามา(สมัน) อีแก (ปลา) ในภาษามลายู

ขั้นตอนการทำคือ ย่างเนื้อปลาทู และปลาทูแขก ไฟอ่อนๆ แล้วแกะเอาก้างออก ให้ได้แต่เนื้อปลา ผสมกันในสัดส่วน 70/30 จากนั้นนำมาผัดกับ หอมแดง ข่า ตะไคร้ กระเทียม และใส่เกลือ น้ำตาลทรายแดง เล็กน้อย เพื่อยืดอายุของเนื้อปลา เก็บรักษาไว้ทำกับข้าวได้หลายวัน

ที่นิยมคือ นำปลาทะเลป่นสมุนไพรไปคลุกตำกับเครื่องแกงกะทิใต้ และกะปิกุ้งเทพา แล้วผัดกับหางกะทิ หัวกะทิ แล้วค่อยไปต้มทำน้ำยากะทิ กินกับเส้นขนมจีน หรือผสมกับเมนูยำต่างๆ รสชาติกลมกล่อม ไม่มีกลิ่นคาว และได้คุณประโยชน์จากเนื้อปลาทะเลแท้ๆ

สินค้ามีขนาดเดียวคือครึ่งกิโลกรัม ราคาเพียง 190 บาท

ใครสนใจเป็นตัวแทนจำหน่าย หรือสั่งซื้อติดต่อคุณแบงค์ 08-1778-9882 ไลน์ ไอดี : Ninebank11 เฟซบุ๊ก Anantachin Musiga

Let's block ads! (Why?)


June 25, 2020 at 08:25AM
https://ift.tt/2BCtQHk

ปลาทะเลป่นสมุนไพร : คอลัมน์จานเด็ด 77 จังหวัดเมื่อการเปิดร้านรับสอนแต่งหน้า - ข่าวสด
https://ift.tt/2UMPY8X
Home To Blog

Wednesday, June 24, 2020

Saint-Gilles. À l’étang du Guichalet, le poisson ne manque pas - Ouest-France

ikanberenangkali.blogspot.com
[unable to retrieve full-text content]Saint-Gilles. À l’étang du Guichalet, le poisson ne manque pas  Ouest-France


June 25, 2020 at 12:46AM
https://ift.tt/2VgL8Rf

Saint-Gilles. À l’étang du Guichalet, le poisson ne manque pas - Ouest-France

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

여름철 식중독 없는 건강한 식탁 만들기 - 미디어데일

ikanberenangkali.blogspot.com

식중독이란 병원성 세균, 화학물질, 자연독 등에 오염된 식품을 섭취했을 때 발생할 수 있는 감염형 또는 독소형 질환이며, 약 80%가 세균과 바이러스에 의한 것이다. 

식중독은 개인 위생관리를 철저히 하면 충분히 예방할 수 있는데, 가장 기본적인 손 씻기만 철저히 해도 식중독 사고의 90%를 예방할 수 있다. 비누로 충분히 거품을 내어 20초 이상을 문질러야 손에 있는 균이 제거되므로 올바른 손씻기 방법을 익혀 실천해야 한다. 

해산물, 가공육, 통조림, 채소는 식중독을 발생시키는 세균이나 바이러스에 오염돨 위험이 높은 식품이다. 따라서 이러한 식품을 구입할 때는 신선한 상태로 적정온도에 보관되고 있는지와 유통기한을 확인해보는 습관을 갖고, 상하기 쉬운 식품은 구매 후 되도록 빠른 시간 내에 냉장 또는 냉동 보관을 하도록 한다. 구매 순서는 냉장이 필요없는 식품부터 구매한 두 과채류, 냉장이 필요한 가공식품, 육류, 어패류 순서로 구입하고, 각각 따로 비닐 팩에 담아 식품간의 오염을 줄인다. 

과일이나 채소는 물에 1분 정도 담근 후  흐르는 물 또는 전용 세척제를 사용하여 여러 번 씻으면 농약, 이물질, 세균 등을 제거할 수 있으며, 씻은 후에는 쉽게 무르거나 상하지 않도록 구멍뚫린 채를 통해 물기를 빠르게 제거하도록 한다. 

식중독을 일으키는 미생물이 조리하는 과정에서 식품, 조리기구, 손 등에 의해 다른 식품으로 옮겨가는 것을 교차 오염아라고 한다. 교차 오염을 예방하기 위해서는 식품을 다루기 전과 조리하는 중간, 생고기나 생선을 만진 후 손을 자주 씻고, 조리기구를 어패류, 육류, 채소류, 과일류 등 식재료의 특징에 따라 분류해 사용한다.

잘못된 해동방법은 식중독 위험을 높일 수 있다. 시간이 오래 걸리는 단점이 있으나 냉장고에서 해동하는 것이 안전한 방법이며, 밀봉하여 20도 이하의 식수에 담가 해동하는 경우에는 미생물 증식이 빠른 온도이기 때문에 수시로 물을 갈아주도록 한다. 

실온해동은 오래 방치했을 때 식중독 발생 위험율이 높아지고, 식품 품질에 부정적인 영향을 미치기 때문에 되도록 피하는 것이 좋다.

조리에서 가장 중요한 것은 바로 식품 가열 온도를 지키는 것이다, 육류, 가금류, 계란, 해산물은 육즙이 분홍색을 띠지 않을 때까지 완전히 익힌다. 겉으로 보기에 익었다고 안심하는 경우 살모넬라나 다른 식중독 미생물의 감염 우려가 있기 때문에 쇠고기, 돼지고기, 생선요리는 71도, 가금류는 82도에서 내부까지 완전히 익혀야 한다. 

Let's block ads! (Why?)




June 25, 2020 at 04:25AM
https://ift.tt/3evYEs3

여름철 식중독 없는 건강한 식탁 만들기 - 미디어데일

https://ift.tt/3hm67M7

Port de pêche de Lorient: CHEZ ÉTOILES ET MER LE POISSON SE VEND VIVANT A L'AUTRE BOUT DE LA FRANCE - KEROMAN

ikanberenangkali.blogspot.com
mercredi 24 juin 2020

C’est sans doute aujourd’hui en France, la seule entreprise à proposer ce genre de service. Basée à Lorient Keroman, Etoiles et Mer vend et transporte du poisson vivant aux 4 coins de la France. Plus frais, cela paraît difficile à imaginer.

Installée depuis 2018 rue Florian Laporte, au cœur du port de pêche de Lorient keroman, Etoiles et Mer n’est pas une entreprise de mareyage tout à fait comme les autres. Sa spécialité ? La vente et le transport de poisson vivant à l’autre bout de la France. Autrement dit, un bar, une lotte ou un turbo pêché au large de Groix dans la nuit pourra se retrouver quelques jours plus tard à Paris, Lyon ou Monaco, nageant tranquillement dans un bassin en arrière cuisine d’un restaurant gastronomique. Sébastien Fauchille, gérant et fondateur d’Étoiles et Mer, expédie ainsi chaque semaine en moyenne 100 kilos de poissons vivants à destination principalement de quelques grands chefs étoilés. « L’idée au départ c’était d’amener la mer à la montagne », explique-il. Pour cela, il a « développé et breveté des bassins de 600 litres, oxygénés en permanence, fonctionnant en toute autonomie, faciles à transporter et qui peuvent contenir jusqu’à 60 kilos de poissons ». Les pertes sont faibles, « à peine 3% ».

Mieux valoriser le produit

Il faut dire que le poisson est bichonné pendant toute la durée de son long voyage. Pêché à la ligne ou au filet, la première étape consiste à lui percer la vessie natatoire qui gonfle lorsque le poisson est remonté du fond. Une opération délicate effectuée par les pêcheurs eux mêmes, après une rapide formation dispensée par Sébastien Fauchille. A bord du bateau, le poisson est conservé vivant dans un bac oxygéné, puis débarqué à quai, et stocké pendant 48h minimum dans les bassins d’Etoiles et Mer afin qu’il se vide de son bol alimentaire. C’est la société Delanchy qui se charge ensuite du transport. Autant de manipulations qui expliquent qu’à l’arrivée, « le prix du poisson est un peu plus important ». Rien d’excessif non plus. « On se base toujours sur les cours de la criée pour négocier les prix avec les pêcheurs. Le but est d’avoir de la production et surtout de mieux valoriser le produit », indique le gérant. Etoiles et Mer travaille ainsi avec une quinzaine de patrons pêcheurs bretons, dont 5 sont basés à Keroman. L’entreprise de mareyage propose également à ses clients la vente de poissons tués à terre selon la méthode japonaise de l’Ikéjimé. Un produit lui aussi premium garantissant une fraicheur et une durée de conservation incomparables. « Aujourd’hui on voit qu’il y a une vraie tendance pour la qualité, Sébastien Fauchille. C’est aussi ce que la crise du Coronavirus a montré. Il nous faut maintenant être à la hauteur du défi ».




June 24, 2020 at 01:50PM
https://ift.tt/3i46DPh

Port de pêche de Lorient: CHEZ ÉTOILES ET MER LE POISSON SE VEND VIVANT A L'AUTRE BOUT DE LA FRANCE - KEROMAN

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

Attention : ce poisson asiatique pullule dans les rivière et peut être mortel - Tribunal Du Net

ikanberenangkali.blogspot.com

En Normandie, un poisson asiatique, nommé Pseudorasbora, a été détecté dans des communautés piscicoles. Ce poisson est porteur d’un parasite, qui peut être mortel pour ses congénères.

poisson asiatique virus normandie

>>> À lire aussi : Ce lion va vouloir embêter cette lionne et va vite le regretter (Vidéo)

Un poisson toxique aperçu en Normandie

« C’est la première que ce type d’espèce est repéré dans le bassin de la Vire », a indiqué Yann Mouchel, agent à l’Office français de la biodiversité (OFB). Ce poisson originaire de Chine se nomme le pseudorasbora ou goujon asiatique. Il a migré vers l’Asie orientale dans les années 50 puis en Europe dans les années 60.

En mai, lors d’une pêche, le fils d’un agent de l’OFB a aperçu un de ses poissons pour la première fois près de Béni-Bocage. « Il est considéré comme l’un des poissons d’eau douce les plus envahissants du monde« , explique le chef de service de l’OFB à Aunay-sur-Odon.

Le président de la Gaule Viroise, Bernard Daireaux, explique : « C’est surprenant. On espère que c’est un cas isolé dans le bassin de la Vire. »

>>> À lire aussi : Il se venge sur le chaton de sa petite amie par jalousie… ce qu’il a fait est atroce !

Un parasite mortel pour les autres poissons

Ce petit poisson mesure entre 7 et 10 centimètres. Bien que petit, ce poisson devient rapidement une menace pour les espèces vivants sur place. En effet, il est porteur d’un parasite mi-animal mi-champignon mortel pour la majorité des poissons : l’agent rosette. « Ce parasite était encore inconnue il y a peu », explique Yann Mouchel.

Ensuite, il poursuit : « Il serait apparu au moment où les animaux et les champignons se sont différenciés, et serait donc très probablement présent en Chine depuis des millions d’années. »

Plusieurs hypothèses ont été émises : « La diffusion de l’agent Roténone, un produit toxique pour ce poisson asiatique. Des opérations de sauvetages des autres espèces pourraient aussi être imaginables. Avec une pêche au filet ou une vidange de l’étang. »

>>> À lire aussi : Les animaux peuvent-ils être jaloux?

Source : Actu 

En savoir plus sur : - -

Publié par Manon le 24 Juin 2020




June 24, 2020 at 11:34AM
https://ift.tt/2VdrmpT

Attention : ce poisson asiatique pullule dans les rivière et peut être mortel - Tribunal Du Net

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson

Tuesday, June 23, 2020

Déconfinement : la pêche normande adopte les circuits courts pour vendre son poisson frais - France 3 Régions

ikanberenangkali.blogspot.com

La pêche a beaucoup souffert de la crise du Covid-19. Mais les professionnels retroussent leurs manches et se relèvent. Après une période de cessation totale d’activité au début du confinement, les pêcheurs normands sont peu à peu retournés en mer. Après plusieurs semaines sans manger de poisson, les consommateurs ont, de leur coté, de nouveau envie de déguster des produits de la mer. Mais les choses ont (un peu) changé. Le monde d’après, dans la filière pêche normande, se traduit par un engouement pour les circuits courts, tant du côté des producteurs que des consommateurs.

Cherbourg : des paniers livrés à domicile

L’armement cherbourgeois proposait déjà avant la crise des « box cherbourgeoises » : 3 kilos de poisson frais pêchés par l’un des 4 chalutiers de l’armement, livré en 24 heures à domicile partout en France… sauf à Cherbourg !  « Notre objectif était de faire découvrir le poisson normand aux consommateurs d’autres régions de France, et nous craignions de faire concurrence aux poissonneries locales », explique l’armatrice Sophie Leroy. Mais pendant le confinement, les Cherbourgeois, privés de poisson frais au même titre que les Parisiens ou les Lyonnais, ont été très frustrés.

La demande locale a fortement augmenté pendant le confinement, donc dès le 11 mai nous avons mis en place la livraison à domicile à Cherbourg

Sophie Leroy, armement cherbourgeois

Le café du Port s’est porté volontaire pour devenir point de retrait à Cherbourg-en-Cotentin, mais les habitants de la ville et des alentours peuvent également se faire livrer à domicile, avec le même mode d’emploi que pour n’importe quel client français : la commande se passe via le site godaille.com.

Et il n’y a pas que les gros bateaux qui proposent ce service, les petits s’y mettent ! « On a commencé un jeudi pendant le confinement pour trois clients, la semaine suivante on en avait 30, la semaine d’après 60 ! » raconte Etienne Fossey, qui travaille à terre pour l’armement Out-rage 2. Ce catamaran de 11 mètres a été transformé pour la pêche au casier dans le Nord Cotentin. Homards, étrilles, tourteaux… les Cherbourgeois ont pu se régaler pendant la deuxième partie du confinement.

l'Out-rage 2 en pêche

l'Out-rage 2 en pêche © Out-rage 2

Deux points de retrait ont été mis en place dans Cherbourg-en-Cotentin, et à partir de 50 euros de marchandise la livraison est possible dans un périmètre de 30 km autour de la ville. Employé autant en mer qu’à terre, Etienne Fossey prend les commandes par texto et livre de l’ultra-frais : « les petits bateaux comme nous proposent de la qualité, nous ne sommes que 2 ou 3 à bord, les marées font douze heures maximum. »

  On a capté une clientèle qui ne mangeait pas de poisson local avant la crise  

Etienne Fossey, Out-rage 2

La jeune génération adepte du circuit court

Sur son site godaille.com, l’armement cherbourgeois propose plusieurs box ou du poisson à la carte. « Avant la crise, on expédiait 20 colis par semaine. Depuis le déconfinement, on est passé à 60 par semaine, la moitié au national, la moitié en local. » se réjouit Sophie Leroy. Et la demande est croissante , « surtout de la part des jeunes. Ils n’ont pas peur de préparer un poisson, ils vont voir un tuto sur youtube » . C’est en effet l’un des pendants de la vente directe : le pêcheur n’est pas poissonnier et dans votre box vous ne trouverez pas de jolis filets mais un charmant Saint Pierre d’1 kilo (éviscéré, étêté tout de même) qu’il vous faudra cuisiner !

Poissons livrés dans les box cherbourgeoises

Poissons livrés dans les box cherbourgeoises © Armement cherbourgeois

Poissonnier de formation, Etienne Fossey estime que la vente directe ne fait pas ombrage aux poissonneries locales : les deux sont complémentaires. « Si vous voulez des étrilles, moi je vous en fournis 1 kilo minimum. Maintenant si vous voulez quatre crabes, un peu de bouquet, etc, mieux vaut aller chez votre poissonnier. Le prix en vente direct est forcément moindre, mais la poissonnerie apporte une valeur ajoutée au produit ».  

Le pêcheur valorisé et mieux rémunéré

S’il accepte de cuisiner donc, le client est gagnant au niveau du prix. Mais les clichés ont les écailles dures. « Il y a encore cette idée reçue que le poisson est plus cher en vente directe qu’en grande surface ! » déplore Sophie Leroy. 

Et si le client y gagne, le pêcheur lui aussi est gagnant. C’est d’ailleurs le sens du mot « godaille » : c’est la partie de la pêche laissée par le patron pêcheur à ses marins. L’armement cherbourgeois a choisi de reverser le fruit des ventes des box directement aux marins pêcheurs. Après la crise du Covid-19 et l’arrêt de l’activité pendant plusieurs semaines, cet avantage financier est bienvenu pour les pêcheurs.

Avec le fruit de la vente directe, nous voulons valoriser le métier de marin pêcheur, dangereux et difficile.  

Sophie Leroy, armement cherbourgeois

L’équipage du caseyeur Out-rage 2 mise aussi sur la valorisation des produits normands et du métier de pêcheur. « Il y a certes un gain d’argent avec la vente directe, mais ce n’est pas le but premier. Nous voulons aussi recréer du lien entre les pêcheurs et les particuliers. Surtout à Cherbourg, ce lien s’est perdu. Les gens savent qu’il existe des pêcheurs mais ils ne nous connaissent pas. »

Si tous les produits sont exportés, le jour où ça ira mal pour nous, personne ne sera là pour nous défendre !

Etienne Fossey, armement Out-rage 2

Du lien sur le littoral : une tendance durable ?

La crise sanitaire va-t-elle modifier durablement les comportements des consommateurs ? Bien malin qui peut répondre aujourd’hui à cette question. Chez Pleine Mer, on espère. L’association milite pour une pêche durable et responsable et veut « recréer du lien sur le littoral ». Thibault Josse, chargé de mission auprès de l’association, explique que le Covid-19 a certes « boosté » la vente directe, mais qu’"il reste un gros travail de sensibilisation à mener afin de fidéliser cette nouvelle clientèle, surtout jeune, et faire comprendre la démarche du circuit court."

Le circuit court permet au consommateur de payer le prix juste et d’offrir de la stabilité économique au pêcheur, qui n’est plus dépendant des prix de la criée. 

Thibault Josse, chargé de mission Pleine Mer

Thibault Josse explique qu’en Normandie, « une tradition de vente directe était bien ancrée avec des étals sur les quais, mais elle n’existait plus du tout à Cherbourg par exemple. Le vente directe souffre encore d’une mauvaise image, basée sur des systèmes opaques : mais ce n’est pas vrai ! »

A l’heure actuelle, la création de circuits courts n’est pas encore une tendance, mais une coexistence d’initiatives individuelles. Pierre à l’édifice apportée par l’association : une cartographie des points de vente directe partout en France sur son site.

La dirigeante de l’armement cherbourgeois se rend à l’évidence : « ce travail de fond pour inciter les gens à manger local et valoriser nos produits, nous allons devoir le faire nous-même, car les campagnes des organisations en place sont focalisées sur les grandes surfaces et les poissonneries. »

Un travail de longue haleine que Philippe Calone a entamé. Ce pêcheur de Ouistreham écoule une partie de ses produits dans des « casiers de la mer ». Inspiré du système des AMAP, le site Poiscaille propose des paniers de poissons coquillages et crustacés en fonction la pêche du jour, livrés partout en France à ses abonnés. La provenance et la fraîcheur sont garantis. La rémunération juste pour le pêcheur aussi.

Ce système, le pêcheur calvadosien veut le mettre en place à l’échelle locale. « Ces circuits permettent aux pêcheurs de pêcher moins, de travailler mieux et d’être mieux rémunérés. »  Les bases d’une pêche durable. Alors quand il ne pêche pas, Philippe Calone prend son bâton de pèlerin et tente de convaincre ses confrères. Mais comme le souligne le chargé de mission de Pleine Mer, Thibault Josse « pour monter une coopérative et mettre en place ces paniers, il faut un budget. » Or cette ligne-là n’a pas été encore été mise à l’ordre du jour du monde d’après.




June 23, 2020 at 11:26PM
https://ift.tt/2VrKErR

Déconfinement : la pêche normande adopte les circuits courts pour vendre son poisson frais - France 3 Régions

https://ift.tt/2YpAXMk
poisson